Wandee Sirapat

All posts by Wandee Sirapat

Development of a Biological Nutrient Removal Model with the Shortened Operating Cycle Time for AnA2/O2 SBR2

Assoc. Prof.Dr. Prayoon Fongsatitkul Faculty of Public Health, Mahidol University This research aimed to investigate the role of the long sludge age and short cycle time of AnA2/O2, in an 8-hr operation cycle, to enhance organics and nutrient (N and P) removal efficiency from slaughterhouse wastewater. Effects of the first anoxic time/second anoxic time ratios… (read more)

ความคืบหน้า งานวิจัยสารหนูในข้าว

น.ส. สุมลธา หนูคาบแก้ว, ดร.นุชนาถ รังคดิลก และ รศ.ดร.จุฑามาศ สัตยวิวัฒน์ ห้องปฏิบัติการวิจัยเภสัชวิทยา สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ (CRI), สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ (CGI) และศูนย์ความเป็นเลิศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา ศูนย์ความเป็นเลิศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา สำนักงานพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ และสถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ซึ่งเป็นสมาชิกศูนย์ความเป็นเลิศฯ ได้ให้ความสำคัญในการศึกษาวิจัย เรื่อง การตรวจวิเคราะห์สารหนูในข้าว ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ได้มีการเก็บตัวอย่างข้าวจากจังหวัดต่างๆ เกือบทั่วประเทศ มาทำการตรวจวิเคราะห์ปริมาณสารหนูอยู่อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นการเฝ้าระวังปริมาณสารหนูในข้าวเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค และได้มีการเผยแพร่บทความที่ได้จากงานวิจัยเกี่ยวกับปริมาณสารหนูในข้าว ในวารสารต่างประเทศ และใน website ของศูนย์ความเป็นเลิศฯ และจากบทความ เรื่อง “ปริมาณของสารหนูในข้าว” ที่ได้เผยแพร่เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2555 ใน Website ของศูนย์ความเป็นเลิศฯ คณะผู้วิจัยได้เขียนรวบรวมงานวิจัยของประเทศอื่นๆที่ได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับสารหนูในข้าวและความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็ง ซึ่งจากข้อมูลที่มีการศึกษาในต่างประเทศในพื้นที่ที่มีปริมาณสารหนูในธรรมชาติสูง อาจจะมีความเสี่ยงในการได้รับสารหนูเข้าสู่ร่างกายเพิ่มขึ้น เมื่อได้รับสารหนูเข้าสู่ร่างกายในปริมาณมากและเป็นระยะเวลานานๆ ก็อาจทำให้มีความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งบางชนิดมากกว่าคนอื่นๆ ในตอนท้ายของบทความได้สรุปไว้ว่า งานวิจัยจากต่างประเทศนั้นพบว่า ตัวอย่างข้าวไทยมีปริมาณสารหนูน้อยกว่าข้าวจากประเทศอื่นๆ แต่อย่างไรก็ตาม การตรวจวิเคราะห์สารหนูในข้าว มีความยุ่งยากซับซ้อน… (read more)

Transcription Regulation of a Response to Reactive Oxygen Species Exposure in Pseudomonas aeruginosa, a Causative Agent of Nosocomial Infection

Assoc. Prof. Dr. Mayuree Fuangthong Chulabhorn Research Institute Bacterial ability to overcome host defense is one of a key factor for bacteria including Pseudomonas aeruginosa, which is an important human pathogen, to infect host successfully. In this study, bioinformatic analysis of P. aeruginosa PAO1 genome reveals the presence of PA0242 encoding putative 4-hydroxyphenylpyruvate dioxygenase enzyme…. (read more)

Medicinal Chemistry of Bioactive Compounds and Green Chemistry

Professor Emeritus Dr. Somsak Ruchirawat Chulabhorn Graduate Institute / Chulabhorn Research Institute In summary, a novel synthetic method for the preparation of substituted indanes was successfully developed via the Lewis/Brønsted acid-mediated cyclization of the E-stilbenylmethanols followed by nucleophilic transfer from trialkylsilyl reagents. The reactions gave the products in good to excellent yields with excellent diastereocontrol;… (read more)

การใช้เอนไซม์แลคเคสในการย่อยสลายสารพิษและสีย้อมจากโรงงานอุตสาหกรรม

ดร.สุวิทย์ ล้อประเสริฐ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ การศึกษาเริ่มจากการนำดินจากแหล่งโรงงานที่ผลิตสี 5 แห่ง คือ บริษัท ทีโอเอ เพ้นท์ (ประเทศไทย)จำกัด บริษัท 3ชัยพิมพ์ผ้า บริษัทไทยโอเชี่ยนอุตสาหกรรม จำกัด บริษัทไทยเกรทโปรดักส์ จำกัด และโรงงานฟอกหนัง จ.สมุทรปราการ มาทดลองค้นหาเชื้อที่มีความสามารถและคุณสมบัติที่ต้องการ พบเชื้อแบคทีเรียที่สามารถผลิตเอนไซม์แลคเคสได้ในปริมาณสูง ตั้งชื่อว่า M4 แลคเคสที่ผลิตจากแบคทีเรีย M4 สามารถออกซิไดส์ guaiacol เป็น o-quinone ซึ่งมีสีน้ำตาล แบคทีเรีย M4 มีลักษณะเป็นเชื้อแกรมลบแบบท่อน โคโลนีที่โตบนอาหารแข็ง LA ที่ 37°C เป็นเวลา 18 ชั่วโมง มีสีเหลือง ขอบโคโลนีหยัก แห้ง เมื่อทำการเปรียบเทียบยีน 16S rRNA ขนาด 1,426 bp ของแบคทีเรียชนิด M4 กับฐานข้อมูลใน GenBank พบว่า แบคทีเรียชนิดนี้มีความคล้ายคลึงกับ… (read more)