Posts filed under โครงการวิจัย

การผลิตไบโอดีเซลให้มีประสิทธิภาพสูงโดยเอนไซม์ไลเปส
ที่ทนต่อสารทำละลายอินทรีย์

ดร. สุวิทย์ ล้อประเสริฐ ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ และ หลักสูตรวิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ สถาบันบันฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ จากการศึกษาวิจัยเรื่อง การใช้น้ำเสียจากอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มเพื่อผลิตเอนไซม์ที่ย่อยไขมัน ซึ่งสามารถแยกเชื้อจุลชีพที่ผลิตเอนไซม์ไลเปสปริมาณสูงและคุณภาพดี จากน้ำเสียของโรงงานผลิตน้ำมันปาล์ม ได้หลายสายพันธุ์ แต่ละสายพันธุ์มีคุณสมบัติที่น่าสนใจ เฉพาะตัวแตกต่างกันไป เช่น ผลิตไลเปสในปริมาณสูง หรือไลเปสสามารถทนความเป็นกรด-ด่างได้ดี เป็นต้น สายพันธุ์ที่น่าสนใจเป็นพิเศษคือ สายพันธุ์ที่ผลิตเอนไซม์ไลเปสที่ทำงานได้ดีเมื่อมีสารทำละลายอินทรีย์อยู่ด้วย ซึ่งคุณสมบัติพิเศษนี้ เหมาะอย่างยิ่งในการนำไปพัฒนาใช้ใขบวนการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลเนื่องจากในขบวนการผลิตไบดอดีเซลต้องใช้สารละลายอินทรีย์คือแอลกอฮอล์ด้วย โดยปกติแล้วเอนไซม์ไลเปสทั่วไปจะไม่สามารถทนต่อสารทำละลายอินทรีย์ได้คือจะสูญเสียการทำงานไป สาเหตุดังกล่าวเป็นอุปสรรคอย่างมากต่อขบวนการผลิตไบโอดีเซลที่ใช้เอนไซม์ไลเปส ในหลักการแล้ว การผลิตไบโอดีเซลโดยใช้เอนไซม์ไลเปสจะให้ผลผลิตที่สูงกว่าการใช้ปฏิกิริยาเคมี และที่สำคัญคือเป็นขบวนการผลิตที่สะอาดปราศจากมลพิษ แต่อุปสรรคที่สำคัญสำหรับขบวนการนี้คือ ราคาของเอนไซม์ที่มีคุณสมบัติที่ดีคือ ทนต่อสภาพที่มีสารทำละลายอินทรีย์ความเข้มข้นสูงๆ นั้นแพงมาก ทำให้ต้นทุนการผลิตสูงเกินความคุ้มค่าในการลงทุน กล่าวได้ว่าปัจจัยที่มีความสำคัญที่สุดของขบวนการผลิตไบโอดีเซลโดยใช้เอนไซม์คือไลเปสเอนไซม์ที่มีคุณสมบัติที่ดีนั้นเอง จากการค้นพบเชื้อจุลชีพในประเทศไทยที่ผลิตเอนไซม์ไลเปสที่มีคุณสมบัติพิเศษ คือทำงานได้ดีเมื่อมีสารทำละลายอินทรีย์อยู่ด้วย งานที่สำคัญต่อมาคือ การผลิตเอนไซม์นี้ให้ได้ในปริมาณมากเพื่อศึกษาคุณสมบัติโดยละเอียด เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในขบวนการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยต่อไปไลเปสที่ผลิตโดยเชื้อ Proteus sp. SW1 ให้ค่า lipase activity สูง (มากกว่า 200% ของ activity เริ่มต้น เมื่อมี isopropanol, ethanol, acetone… (read more)

The detoxification process of jatropha seed cake and potential value added products

Assoc. Prof. Dr. Preeda Pakpian Post-graduate Program in Environmental Toxicology, Technology and Management Although jatropha seed cake contains high amount of protein and other nutrients, but it also has a drawback due to toxic compounds. There are many toxic compounds in jatropha seed cake that include phytate, saponin, trypsin inhibitor, curcin and phorbol esters. However… (read more)

Distribution and accumulation of herbicides (paraquat and glyphosate) in sediment at Chanthaburi estuary: A Case Study of Chanthaburi River

Assoc. Prof. Dr. Preeda Pakpian Post-graduate Program in Environmental Toxicology, Technology and Management This research project consists of field surveys and field experiment plus a detailed series of greenhouse experiments. Because of this the abstract was prepared in two parts. Part 1. Ecokinetics and potential risks of herbicides (paraquat and glyphosate) from farmland to the… (read more)

Health risk assessment of particulates and volatile organic compounds exposure among bus drivers and conductors

Prof. Dr. Pornpimol Kongtip Faculty of Public Health, Mahidol University A cross-sectional study was conducted from March to December, 2009. The exposure concentrations of 60 bus drivers and 60 bus conductors of fine particles (PM2.5), respirable particles (PM10), volatile organic compounds (VOCs) and the level of carbon dioxide (CO2), carbon monoxide (CO), temperature, and relative… (read more)

Health risk assessment of particulates and volatile organic compounds exposure among bus drivers and conductors

Prof. Dr. Pornpimol Kongtip Faculty of Public Health, Mahidol University A cross-sectional study was conducted from March to December, 2009. The exposure concentrations of 60 bus drivers and 60 bus conductors of fine particles (PM2.5), respirable particles (PM10), volatile organic compounds (VOCs) and the level of carbon dioxide (CO2), carbon monoxide (CO), temperature, and relative… (read more)