Archive for February 2015

การใช้เอนไซม์แลคเคสในการย่อยสลายสารพิษและสีย้อมจากโรงงานอุตสาหกรรม

ดร.สุวิทย์ ล้อประเสริฐ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ การศึกษาเริ่มจากการนำดินจากแหล่งโรงงานที่ผลิตสี 5 แห่ง คือ บริษัท ทีโอเอ เพ้นท์ (ประเทศไทย)จำกัด บริษัท 3ชัยพิมพ์ผ้า บริษัทไทยโอเชี่ยนอุตสาหกรรม จำกัด บริษัทไทยเกรทโปรดักส์ จำกัด และโรงงานฟอกหนัง จ.สมุทรปราการ มาทดลองค้นหาเชื้อที่มีความสามารถและคุณสมบัติที่ต้องการ พบเชื้อแบคทีเรียที่สามารถผลิตเอนไซม์แลคเคสได้ในปริมาณสูง ตั้งชื่อว่า M4 แลคเคสที่ผลิตจากแบคทีเรีย M4 สามารถออกซิไดส์ guaiacol เป็น o-quinone ซึ่งมีสีน้ำตาล แบคทีเรีย M4 มีลักษณะเป็นเชื้อแกรมลบแบบท่อน โคโลนีที่โตบนอาหารแข็ง LA ที่ 37°C เป็นเวลา 18 ชั่วโมง มีสีเหลือง ขอบโคโลนีหยัก แห้ง เมื่อทำการเปรียบเทียบยีน 16S rRNA ขนาด 1,426 bp ของแบคทีเรียชนิด M4 กับฐานข้อมูลใน GenBank พบว่า แบคทีเรียชนิดนี้มีความคล้ายคลึงกับ… (read more)

Toxicoproteomics of Contaminated Rice on Colon Cells

Dr. Nilubol Paricharttanakul Chulabhorn Research Institute Rice is one dietary food consumed by 50% of people in the world and contributes to 75% of the daily calorie intake of Asians. Rice may be contaminated with some trace metals, such as arsenic, from water or soil. Arsenic is classified as carcinogen class IA based on the… (read more)

Development of a Method to Detect Meat in Vegetarian Foods by Real-time PCR Investigator

Assist. Prof. Dr. Chuta Boonphakdee Faculty of Science, Burapha University In this study, the researcher developed a real-time PCR-based assay using SYBR-green dye for the detection of contaminated meat in vegetarian foods. The highly efficient real-time PCR assay was able to distinguish between meat and plant foods using an amplified 161-bp 18S rRNA gene (1st… (read more)