Posts filed under โครงการวิจัย

Identification of environmental toxicity of bioextract from municipal solid waste in using as soil conditioner: case study in Bangkok

Dr. Tawach Prechthai Faculty of Public Health, Mahidol University This laboratory study was to identify the environmental toxicity of bioextract from municipal solid waste to be used as soil conditioner. The animal part bio-extract, vegetable bio-extract and the animal part mixed vegetable bioextract sample were prepared from the waste collected from the market in Bangkok…. (read more)

Study on the stability of foodborne acrylamide contaminant under condition of in vitro digestion and bioremediation of acrylamide industrial wastewater

Assoc. Prof. Dr. Jittima Charoenpanich Faculty of Science, Burapha University Acrylamide, a neurotoxicant and suspected human carcinogen has been first discovered in foods by the Swedish researchers. Numerous paths of formation have been discussed, predominantly through a Maillard reaction and can be regarded as the most important heat-induced contaminants occurring in starchy foods. In addition,… (read more)

Investigation of effects of abnormal electrolyte condition and heavy metal exposure on stability and function of therapeutic recombinant human erythropoietin (rHuEPO) in vitro

Siraprapha Sanchatjate1, Sumontha Nookabkeaw2 and Jutamaad Satayavivad2 1Translational Research Unit and 2Pharmacology Laboratory, Chulabhorn Research Institute Recombinant human erythropoietin (rHuEPO) has been widely used for treatment of anemia associated with chronic renal failure. Cases of anti-rHuEPO-associated pure red cell aplasia (PRCA) have been found in patients undergone rHuEPO treatment. Patients become resistant to administered rHuEPO… (read more)

การผลิตแอลกอฮอล์และการกำจัดสีจากน้ำเสียของอุตสาหรรมผลิตน้ำมันปาล์ม

รองศาสตราจารย์ ดร. ประยูร ฟองสถิตย์กุล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล งานวิจัยนี้ทำการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิตแอลกอฮอล์จากน้ำเสียของอุตสาหกรรมผลิตน้ำมันปาล์มดิบ โดยการใช้เชื้อแบคทีเรียในกลุ่ม Solventogenic clostridia ซึ่งนำมายึดเกาะกับตัวกลาง 2 ลักษณะ คือวิธีการ Entrapment และ Attachment ที่ระยะเวลาการเก็บกักที่ 6, 12 และ 24 ชั่วโมง ในทำการศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมของ อัตราส่วนของสารละลาย Fenton เพื่อใช้ในการปรับลักษณะสมบัติของน้ำเสีย เพื่อให้ได้ปริมาณน้ำตาลทั้งหมดสูงสุด เหมาะสมต่อการนำไปผลิตแอลกอฮอล์ โดยการเปรียบเทียบ อัตราส่วนระหว่าง COD:H2O2 และ H2O2 :Fe2+ ที่ COD:H2O2 เท่ากับ 50, 70, 100 และ130 และที่ H2O2 :Fe2+ เท่ากับ 5 10, 20 และ30 ตามลำดับ ผลของการศึกษาพบว่าอัตราส่วนที่เหมาะสมของสารละลาย Fenton ที่ อัตราส่วนระหว่าง… (read more)

ศักยภาพของสาหร่ายขนาดเล็กที่เลี้ยงด้วยระบบน้ำเขียวเพื่อลดภาวะโลกร้อน
และเป็นแหล่งพลังงานทางเลือก

รองศาสตราจารย์ ดร. ยุวดี พีรพรพิศาล คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในปัจจุบันมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) สู่บรรยากาศจากกิจกรรมของมนุษย์มากขึ้นส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อนอันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีการรณรงค์ใช้สิ่งมีชีวิตเพื่อลด CO2 กันมาก หนึ่งในสิ่งมีชีวิตเหล่านั้นคือสาหร่ายขนาดเล็ก (microalgae) ซึ่งสามารถใช้ CO2 ในกระบวนการสังเคราะห์แสงและมีสาหร่ายขนาดเล็กหลายสายพันธุ์สามารถทนต่อสภาวะที่มีความเข้มข้นของ CO2 ได้สูงกว่าพืชทั่วไปโดยสูงถึง 12-80% v/v ในงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ที่จะลด CO2 โดยใช้สาหร่ายขนาดเล็ก ทำการเพาะเลี้ยงสาหร่ายผสมขนาดเล็กแล้วเติม CO2 สังเคราะห์ลงไป โดยมีการให้อากาศที่แตกต่างกันคือ ไม่ให้อากาศ (control) ให้อากาศจากเครื่องปั๊ม (air pump) ซึ่งเป็นอากาศจากบรรยากาศทั่วไป100% N2 และ 10% CO2 ด้วยอัตรา 100 mL.min-1 ทำการวัดการเจริญทุก 2 วัน โดยวัดปริมาณคลอโรฟิลล์เอ และน้ำหนักเซลล์แห้ง หลังการเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 26 วันทำการเก็บเกี่ยวและ วัดปริมาณชีวมวลที่ได้ทั้งหมดพบว่าสาหร่ายเจริญได้ดีที่สุดในสภาวะที่มีการให้ 10% CO2 โดยมีปริมาณคลอโรฟิลล์เอ และน้ำหนักเซลล์แห้งเท่ากับ… (read more)