Archive for 2017

การประชุมวิชาการประจำปี 2560 (19 พฤศจิกายน 2560)
เรื่อง อนามัยสิ่งแวดล้อมกับการวิจัยพัฒนาสู่ประเทศไทย 4.0
(Environmental Health: The Road to Thailand 4.0)

วันอาทิตย์ที่ 19 พฤศจิกายน 2560 ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพมหานคร กำหนดการ (download in pdf format) กล่าวรายงานการประชุมโดย รศ.ดร.คุณหญิงมธุรส รุจิรวัฒน์ ผู้อำนวยการศูนย์ความเป็นเลิศด้านอนามัย สิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา  กล่าวเปิดการประชุมโดย นายขจร จิตสุขุมมงคล  รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปาฐกถา เรื่อง Frontiers in environmental health research: Transdisciplinary strategies to reduce disease burden while enhancing sustainability โดย  William A. Suk, PhD, MPH Chief, Hazardous Substances Research Branch Director, Superfund Research Program, Division of Extramural Research… (read more)

Environmental Impact Assessment of Anthropogenic Waste in a Human-impacted Mangrove, Chonburi Thailand: Using Stable Isotopic Technique

Asst.Prof.Dr. Thanomsak Boonphakdee Faculty of Science, Burapha University Environmental impact assessment of anthropogenic waste in a human-impacted mangrove, Chonburi Thailand were investigated by using stable isotope of carbon (13C) and nitrogen (15N) technique. Field sampling were performed in June (dry season) and November (wet season) 2014 in mangrove (12 stations) where receives treated wastewater and… (read more)

การตรวจวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักในอาหาร

ดร.นุชนาถ รังคดิลก, สุมลธา หนูคาบแก้ว และ รศ.ดร.จุฑามาศ สัตยวิวัฒน์ ห้องปฏิบัติการวิจัยเภสัชวิทยา สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ (CRI), สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ (CGI) และศูนย์ความเป็นเลิศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา โลหะหนัก หมายถึง ธาตุที่มีค่าความถ่วงจำเพาะมากกว่าน้ำ 5 เท่า ขึ้นไป ซึ่งโลหะหนักบางชนิดมีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น แมงกานีส (Mn), เหล็ก (Fe), ทองแดง (Cu) และสังกะสี (Zn) เป็นต้น แต่โลหะหนักบางชนิดมีความเป็นพิษต่อร่างกาย เช่น ปรอท (Hg), ตะกั่ว (Pb) และแคดเมียม (Cd) นอกจากนี้สารหนู (As) ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มธาตุกึ่งโลหะ (Metalloid) แต่สารหนูมีความเป็นพิษต่อร่างกาย จึงมักจะถูกรวมอยู่ในกลุ่มโลหะหนักที่มีความเป็นพิษด้วย โลหะหนักเหล่านี้สามารถเกิดขึ้นได้เองในธรรมชาติ โดยอาจมาจากการทำเหมืองแร่ โรงงานผลิตสารเคมี โรงงานผลิตไฟฟ้าโดยใช้ถ่านหิน การทำแบตเตอรี่ การใช้ปุ๋ยและยากำจัดศัตรูพืชในการเกษตรกรรม แล้วจะถูกปลดปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อมและบรรยากาศ หากไม่มีการบริหารจัดการกากของเสียที่ดี จะทำให้เกิดการปนเปื้อนโลหะหนักเหล่านี้ในสิ่งแวดล้อมและเข้าสู่ห่วงโซ่อาหารได้ ทำให้เกิดปัญหาการปนเปื้อนในอาหารสูงเกินกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่อนุญาตให้บริโภคได้อย่างปลอดภัย ถ้าคนหรือสัตว์เลี้ยงที่บริโภคอาหารและน้ำที่มีโลหะหนักปนเปื้อนเป็นเวลานาน… (read more)