Posts filed under โครงการวิจัย

The detoxification process of jatropha seed cake and potential value added products

Dr. Preeda Parkpian Post-graduate program in Environmental Toxicology, Technology and Management Although jatropha seed cake contains high amount of protein and other nutrients, but it also has a drawback due to toxic compounds. There are many toxic compounds in jatropha seed cake that include phytate, saponin, trypsin inhibitor, curcin and phorbol esters. However this paper… (read more)

Development of potent in vitro model for determination of cellular toxicity and cellular detoxification using yeast Saccharomyces cerevisiae

Asst. Prof. Dr. Krongchan Ratapradit Faculty of Science, Burapha University This research work aimed to optimize in vitro cytotoxic assay using yeast as biological model. In particular, factors affecting yeast based cytotoxic assay and sensitivity of yeast after exposure to toxic substance have been investigated. Initially, four yeast strains have been evaluated and finally two… (read more)

Mechanisms of arsenic-induced cell proliferation: Involvement of vascular endothelial factor (VEGF) and epidermal growth factor receptor (EGFR)

Assoc. Prof. Dr. Piyajit Watcharasit Chulabhorn Research Institute Arsenic is widely contaminated in environment. Epidemiological studies demonstrated that chronic exposure of arsenic leads to cancers in multiple organs including skin, lungs, and bladder. However, underlined mechanisms of arsenic carcinogenesis remain elusive. Arsenic has been shown to cause increase in cell proliferation which can potentially initiate… (read more)

การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มโดยปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชั่น ระหว่างเซลล์ตรึงแบคทีเรียและเอนไซม์ไลเปสตรึงรูปที่ทนต่อตัวทำละลายอินทรีย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิตติมา เจริญพานิช คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ไบโอดีเซล หรือเมทิลเอสเทอร์ของกรดไขมัน เป็นแหล่งพลังงานทางเลือกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน จากกระบวนการผลิตไบโอดีเซลที่ได้มีการพัฒนาเรื่อยมาพบว่า การใช้เอนไซม์ไลเปสเร่งปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชั่น เป็นกระบวนการที่ได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้น แต่การใช้เอนไซม์เร่งปฏิกิริยาก็มีข้อจำกัดในเรื่องของราคาและความเสถียรที่ต่ำของเอนไซม์ เมื่ออยู่ในสภาวะที่มีตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น เมทานอล เป็นองค์ประกอบ จากปัญหาดังกล่าวทำให้เกิดการค้นหาแหล่งผลิตเอนไซม์ไลเปสจากธรรมชาติที่ให้เอนไซม์ไลเปสที่มีความเสถียรสูงและทนต่อสภาวะที่มีตัวทำละลายอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น จากแบคทีเรียจำนวน 22 ไอโซเลทที่สามารถผลิตเอนไซม์ไลเปสได้ พบแบคทีเรีย 2 ไอโซเลทที่สามารถผลิตเอนไซม์ไลเปสได้ในปริมาณสูงและถูกเลือกมาใช้เป็นแหล่งผลิตเอนไซม์ไลเปสเพื่อศึกษาต่อไป แบคทีเรียไอโซเลทที่ 1 ซึ่งได้มีการจัดจำแนกสายพันธุ์เป็น Acinetobacter baylyi สามารถผลิตเอนไซม์ไลเปสออกภายนอกเซลล์ จากการศึกษาปัจจัยทางกายภาพที่ส่งผลต่อการผลิตเอนไซม์พบว่า A. baylyi สามารถผลิตเอนไซม์ได้สูงที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ค่าพีเอช 5.75 ด้วยการเขย่าด้วยความเร็ว 150 รอบต่อนาที โดยสามารถผลิตเอนไซม์ไลเปสได้แอคติวิตีและปริมาณมวลชีวภาพสูงที่สุด เมื่อเลี้ยงเชื้อเจริญในสภาวะดังกล่าวเป็นเวลา 15 ชั่วโมง โดยพบว่าการเติมกลูโคสความเข้มข้นร้อยละ 0.8 (น้ำหนักต่อปริมาตร) หรือแอมโมเนียซัลเฟตความเข้มข้นร้อยละ 0.4 (น้ำหนักต่อปริมาตร) ลงในอาหารเลี้ยงสามารถเพิ่มปริมาณการผลิตเอนไซม์ไลเปสได้ 2.5 เท่า แต่หากเติมพร้อมกันจะเพิ่มแอคติวิตีของ เอนไซม์ไลเปสได้… (read more)

Development of antibody against metallothionein (MT) from seabass (Lates calcarifer, BLOCH) exposed to cadmium and its usefulness as a potential biomarker to determine exposure of heavy metal pollutants in tropical fish of Thailand

Asst. Prof. Dr. Praparsiri Barnette Faculty of Science, Burapha University The CdNO3.4H2O injection enables the stimulation of Cd-binding protein synthesis as metallothionein (MT) form in the Lates calcarifer, Bloch liver. MT protein undergone a protein extracted by immobilized metal ion affinity chromatography technique. After analyzed with SDS-PAG Electrophoresis and the UV spectra of Cd2+– protein… (read more)